เส้นเลือดขอด เกิดจากการทำงานผิดปกติของลิ้นในเส้นเลือดดำ ซึ่งปกติจะช่วยป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ แต่เมื่อระบบนี้ทำงานผิดปกติ เลือดจึงสะสมในเส้นเลือดมากเกินไป ทำให้เส้นเลือดขยายและโป่งพองขึ้น ปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย ได้แก่
โดยทั่วไปการรักษาเส้นเลือดขอดด้วยวิธีการผ่าตัดมักจะทำให้หายขาดและช่วยป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคนี้ที่จะตามมาในภายหลังได้ ยกเว้นในรายที่ยังมีแขนงของเส้นเลือดขอดหลงเหลืออยู่ก็อาจจะทำให้มีอาการกลับมาเป็นซ้ำได้อีก
เลี่ยงการนั่งหรือยืนนาน ๆ ให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ
อาการของผู้ที่มีเส้นเลือดขอดที่สังเกตได้คือ อาการปวด หน่วง ชา และบวมบริเวณที่เป็นเส้นเลือดขอด เส้นเลือดขอดในบางรายจะเห็นชัด แต่ในบางรายก็จะยังมองไม่เห็น แต่จะมีอาการปวด และเป็นตะคริวได้บ่อย ๆ ในตอนกลางคืน ซึ่งเพศหญิงจะมีแนวโน้มเป็นเส้นเลือดขอดได้มากกว่าเพศชาย โดยจำแนกได้ ดังนี้
พฤติกรรมในชีวิตประจำวันบางอย่างสามารถส่งผลให้อาการของเส้นเลือดขอดที่เป็นอยู่รุนแรงขึ้นได้ เช่น การใส่รองเท้าส้นสูง การสวมเสื้อผ้าที่รัดแน่น โดยเฉพาะกางเกงที่รัดแน่นบริเวณเอว ต้นขา น่อง หรือขาหนีบ รวมถึงการนั่งหรือยืนในท่าเดิมติดต่อกันเป็นเวลานานด้วย
ถุงน่องเส้นเลือดขอด นั้นจะมีหลายระดับ เช่น
หากปล่อยไว้ไม่รักษาอาจเกิดการแตกของเส้นเลือดขอดที่อยู่ชิดผิวหนัง ทำให้มีแผลโดยตรงบนผนังหลอดเลือด ส่งผลให้เลือดออกเป็นจำนวนมากจากหลอดเลือดโดยตรง
หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดและสวมเครื่องป้องกันแสงแดด โดยเฉพาะบริเวณใบหน้าที่อาจทำให้เกิดเส้นเลือดฝอยได้
สุขภาพและผิวพรรณ ดูแลสุขภาพไม่ผ่าตัด miraDry รักษาเส้นเลือดขอด เลเซอร์ลดเหงื่อ ลดกลิ่นตัว
แนะนำทีมแพทย์ รัตตินันท์ เมดิคอล เซ็นเตอร์
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิตามินดี ต่อผิวของคุณและสุขภาพโดยรวม
การป้องกันเส้นเลือดขอดสามารถทำได้โดยการปรับพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ เช่น ออกกำลังกาย (เดิน วิ่งเบา ๆ ปั่นจักรยาน) เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือด ควบคุมน้ำหนักเพื่อลดแรงกดดันที่ขา สวมถุงน่องที่ช่วยลดแรงดันในเส้นเลือด และใช้หมอนรองขายกขาสูงเมื่อพักผ่อน เพื่อลดการสะสมของเลือดในเส้นเลือดขา
ผลข้างเคียงรุนแรงที่อาจเกิดขึ้น (แต่พบไม่บ่อย)
คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้ รายละเอียดคุกกี้ คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย